หลังจากมีข่าวออกมาว่ารัฐบาลจะปรับลดงบประมาณในนโยบายดิจิทัลด้วยการเจาะจงช่วยเหลือกลุ่มบุคคลยากจนหรือผู้ที่มีรายได้น้อยเท่านั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียงกันในไทยก็คือระดับรายได้ของคนที่เรียกได้ว่า ‘ยากจน’ ในไทยว่าต้องมีรายได้หรือใช้ชีวิตแบบไหนถึงเรียกได้ว่าเป็นคนจนที่ควรได้รับความช่วยเหลือ
อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก
ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าไทยร้องรัฐบาล ขอขยายผลิต-แก้หนี้ครัวเรือนฉุดยอดขาย
ประธานาธิบดีศรีลังกา ลาออกอย่างเป็นทางการแล้วหลังลี้ภัยถึงสิงคโปร์
นอกจากในไทยแล้ว คำถามนี้ก็เป็นสิ่งที่นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกตั้งคำถามเช่นกันว่า ‘ความจน’ แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร แล้วเรานำระดับตัวเลขรายได้มาชี้วัดได้จริงหรือไม่ และถ้าวัดได้ ระดับรายได้ที่ทำให้คนยากจนแท้จริงแล้วคือเท่าไหร่ เพราะแน่นอนว่าความยากจนไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับรายได้เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการเข้าถึงทรัพยากร และโอกาสในการทำมาหากิน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าคนๆ นั้น อยู่ในพื้นที่ใด อายุเท่าไหร่ เชื้อชาติอะไร และนิยามตัวเองว่าเป็นเพศไหน ทำให้การนิยามคนจนเป็นเรื่องละเอียดอ่อนจนไม่สามารถนำตัวเลขเดียวมาวัดได้
อย่างไรก็ตาม แม้มาตรการทางภาษีและนโยบายทางสังคมจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำ แต่ข้อมูลอีกชุดก็ได้บ่งชี้ว่า ระดับของความเหลื่อมล้ำก่อนที่จะมีการเก็บภาษีและมาตรการช่วยเหลือทางรายได้ยิ่งสูง ระดับของการช่วยเหลือทางสังคม (หรือเม็ดเงินสำหรับการจัดสวัสดิการ) ก็จะยิ่งต่ำตามไปด้วย ในขณะที่กลุ่มประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำก่อนการเก็บภาษีและมาตรการทางสังคมต่ำ ระดับของการช่วยเหลือทางสังคมก็จะยิ่งสูงตามขึ้นไปด้วย ข้อมูลชุดนี้ อาจจะบอกเราได้ว่าการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำตั้งแต่ต้นก่อนที่จะมีมาตรการเหล่านี้ ยังคงเป็นเรื่องสำคัญต่อการลดความเหลื่อมล้ำ
ส่องอิทธิพล "ชุดผ้าไทย" ผ่านพระราชกรณียกิจต่างแดนของสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงจากยุคสยามสู่ปัจจุบัน
The cookie is ready by GDPR cookie consent to file the user consent for the cookies during the group "Practical".
I've browse the Privacy Discover and consent to my own data getting processed, on the extent essential, to submit my comment for moderation. I also consent to obtaining my name revealed.
ไม่ว่าจะมีคนจนเพิ่มขึ้นต่ำกว่าที่คาดไว้ หรือไม่มีคนจนเพิ่มขึ้นเลยในปีนั้น ๆ อาจไม่ใช่ผลสำเร็จของการแก้ปัญหาความยากจน เพราะตัวชี้วัดที่ชัดเจนที่สุด คือ ประชาชนสามารถลืมตาอ้าปากได้ และประกอบอาชีพเลี้ยงดูตนเองตามความเหมาะสม
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และงานวิจัยและพัฒนา
ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี
และนี่คือตัวอย่างที่น่าสนใจของความพยายามในการพัฒนาวิธีการวัดความยากจนด้วยวิธีการใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์ข้อจำกัดโดยเฉพาะในยามวิกฤต
Functional วิกฤตคนจน cookies enable to complete sure functionalities like sharing the written content of the web site on social websites platforms, gather feedbacks, as well as other 3rd-social gathering attributes. Effectiveness Effectiveness